วันพฤหัสบดีที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

วิธีการคัดเลือกในระบบแอดมินชั่น

          วัสดีค่า^^ ใกล้เข้ามาเรื่อยๆ แล้วสำหรับการประกาศผลแอดมิชชั่น54 บอร์ดแอดมิชชั่น Dek-D.com ก็คึกคักทั้งวันเลย ตอนนี้หลายคนตั้งหน้าตั้งตานับถอยหลังวันรู้ผลกันแล้ว แต่เท่าที่ พี่มิ้นท์ ลองแวะเวียนไปตามกระทู้ก็ยังพบว่ามีน้องๆ ที่ยังมีคำถามสงสัยเกี่ยวกับการคัดเลือกในระบบแอดมิชชั่นอยู่เลย- -!! ไม่เป็นไรค่ะ เอาเป็นว่ารู้ตอนนี้ก็ยังไม่สาย พี่มิ้นท์ จะมาอธิบายกันอีกที

How To วิธีคัดเลือกแอดมิชชั่นใน 4 อันดับของเรา !!


เกณฑ์คัดเลือกดูที่อะไร
          เกณฑ์การคัดเลือกในระบบแอดมิชชั่น จะพิจารณาที่ตัว “คะแนน” เท่านั้น พูดง่ายๆ ก็คือ ยิ่งคะแนนสูงยิ่งมีโอกาสติดมากกว่า พี่มิ้นท์ ตั้งข้อสมมติง่ายๆ ว่า ถ้า น้อง ก. และ น้อง ข. เลือกคณะเดียวกัน
              น้อง ก. ได้คะแนน 17,220 เลือกไว้อันดับ 1
              น้อง ข. ได้คะแนน 18,740 เลือกไว้อันดับ 2
           ในกรณีข้างต้น ถ้าพิจารณาคะแนนของน้อง ข. ซึ่งเป็นอันดับ2 (สมมติว่าพลาดอันดับ 1 มาแล้ว) ก็จะเห็นว่าคะแนนมากกว่าน้อง ก. นั่นเท่ากับว่าน้องข. มีโอกาสติดมากกว่า เพราะคะแนนสูงกว่านั่นเอง (แม้ว่าน้อง ก.จะเลือกไว้เป็นอันดับ1 ก็ไม่มีผล เพราะคะแนนน้อยกว่า) ดังนั้น ถ้าคณะนี้ขาดอีกเพียงที่นั่งเดียว คนที่ติดก็คือ น้องข. ส่วนน้องก. ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับ2 ต่อไป

อันดับที่เลือกมีผลยังไง
            ถ้าระบบยึดที่คะแนนแล้วอันดับที่เลือกมีผลยังไง คำตอบก็คือ มีไว้เพื่อพิจารณาเป็นลำดับต่อๆไป เช่น ไม่ติด1 ก็พิจารณาอันดับ2, ไม่ติด2 พิจารณาอันดับ3, ไม่ติด3 พิจารณาอันดับ4, ไม่ติด4 ก็เท่ากับแอดมิชชั่นไม่ติดค่ะ แต่ถ้าติดในอันดับใดอันดับหนึ่งแล้ว อันดับต่อไปจะไม่นำมาพิจารณา ดังนั้นก่อนเลือกคณะจึงมีพี่ๆ หลายคนพยายามแนะนำว่าควรศึกษาวิธีการเลือกคณะดีๆ ว่าอยากเลือกคณะที่ชอบที่อยากเรียน หรือเอาว่าติดชัวร์

การทำงานของโปรแกรมพิจารณาคะแนน
           น้องๆ อาจจะสงสัยว่าการพิจารณาคะแนนของระบบที่ว่าเป็นยังไง ลองอ่านดูเป็นข้อๆ ไปนะ
           1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย
           2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป
           3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไป(แล้วพิจารณาอันดับ2) เช่น

How To วิธีคัดเลือกแอดมิชชั่นใน 4 อันดับของเรา !!
          สมมติว่าเมื่อพิจารณารอบแรก คือดูอันดับ 1 ของน้องทั้ง 2 คน ปรากฏว่า น้องก. ติดเป็นอันดับสุดท้าย(คะแนนต่ำสุด) ของคณะ A  ส่วนน้อง ข. คะแนนหลุดอันดับ 1 จึงต้องเลื่อนลงมาพิจารณาคณะ A ในอันดับที่2
         เมื่อดูที่คณะ A แล้วปรากฏว่าคะแนนของน้อง ข.มากกว่าน้อง ก. แม้ว่าจะอยู่อันดับ 2 ก็ตาม ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ระบบพิจารณาคะแนน คะแนนของน้อง ข. ก็จะมาแทรกในคณะ A ทำให้คนที่ได้คะแนนต่ำสุดจากการคัดรอบแรกหลุดออกไป พูดง่ายๆ คือน้อง ก.เป็นจุดอ่อนโดนเบียดออกจากคณะ A นั่นเอง  ดังนั้นจากตารางนี้ สรุปง่ายๆ ว่า น้อง ข.ติดอันดับ 2 ในคณะ A ส่วนน้อง ก.จะต้องลุ้นในอันดับ 2 ต่อไป
         4.ระบบจะทำซ้ำในข้อ3 ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะไล่หมดทั้ง 4 อันดับ (และคนที่ติดแล้วในรอบแรกๆ ก็สามารถโดนเบียดได้เรื่อยๆ ถ้ามีคนที่คะแนนมากกว่าแทรกเข้ามา)

ถ้าคะแนนเท่ากัน ใครจะอยู่ใครจะไป
          ถ้ารันคะแนนจนมาถึงที่นั่งสุดท้ายของคณะ ปรากฏว่ามีคะแนนของน้องๆ เท่ากันหลายคน การแก้ปัญหาในกรณีนี้มีอยู่ 2 ทางค่ะ คือ
          1.รับก็รับทั้งหมด ต่อให้มีคะแนนเท่ากันซัก 5 คน แต่ถ้าคณะนั้นๆ ไม่มีปัญหาในการรับนักศึกษาเกิน น้องๆ ทั้ง 5 คนก็จะได้เรียนในคณะนั้น
          2.ไม่รับทั้งหมด ในกรณีนี้ส่วนใหญ่จะเป็นคณะที่ต้องใช้อุปกรณ์การเรียน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอุปกรณ์ไม่พอนั่นเอง

วิธีการคัดเลือกในระบบแอดมินชั่น

          วัสดีค่า^^ ใกล้เข้ามาเรื่อยๆ แล้วสำหรับการประกาศผลแอดมิชชั่น54 บอร์ดแอดมิชชั่น Dek-D.com ก็คึกคักทั้งวันเลย ตอนนี้หลายคนตั้งหน้าตั้งตานับถอยหลังวันรู้ผลกันแล้ว แต่เท่าที่ พี่มิ้นท์ ลองแวะเวียนไปตามกระทู้ก็ยังพบว่ามีน้องๆ ที่ยังมีคำถามสงสัยเกี่ยวกับการคัดเลือกในระบบแอดมิชชั่นอยู่เลย- -!! ไม่เป็นไรค่ะ เอาเป็นว่ารู้ตอนนี้ก็ยังไม่สาย พี่มิ้นท์ จะมาอธิบายกันอีกที

How To วิธีคัดเลือกแอดมิชชั่นใน 4 อันดับของเรา !!


เกณฑ์คัดเลือกดูที่อะไร
          เกณฑ์การคัดเลือกในระบบแอดมิชชั่น จะพิจารณาที่ตัว “คะแนน” เท่านั้น พูดง่ายๆ ก็คือ ยิ่งคะแนนสูงยิ่งมีโอกาสติดมากกว่า พี่มิ้นท์ ตั้งข้อสมมติง่ายๆ ว่า ถ้า น้อง ก. และ น้อง ข. เลือกคณะเดียวกัน
              น้อง ก. ได้คะแนน 17,220 เลือกไว้อันดับ 1
              น้อง ข. ได้คะแนน 18,740 เลือกไว้อันดับ 2
           ในกรณีข้างต้น ถ้าพิจารณาคะแนนของน้อง ข. ซึ่งเป็นอันดับ2 (สมมติว่าพลาดอันดับ 1 มาแล้ว) ก็จะเห็นว่าคะแนนมากกว่าน้อง ก. นั่นเท่ากับว่าน้องข. มีโอกาสติดมากกว่า เพราะคะแนนสูงกว่านั่นเอง (แม้ว่าน้อง ก.จะเลือกไว้เป็นอันดับ1 ก็ไม่มีผล เพราะคะแนนน้อยกว่า) ดังนั้น ถ้าคณะนี้ขาดอีกเพียงที่นั่งเดียว คนที่ติดก็คือ น้องข. ส่วนน้องก. ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับ2 ต่อไป

อันดับที่เลือกมีผลยังไง
            ถ้าระบบยึดที่คะแนนแล้วอันดับที่เลือกมีผลยังไง คำตอบก็คือ มีไว้เพื่อพิจารณาเป็นลำดับต่อๆไป เช่น ไม่ติด1 ก็พิจารณาอันดับ2, ไม่ติด2 พิจารณาอันดับ3, ไม่ติด3 พิจารณาอันดับ4, ไม่ติด4 ก็เท่ากับแอดมิชชั่นไม่ติดค่ะ แต่ถ้าติดในอันดับใดอันดับหนึ่งแล้ว อันดับต่อไปจะไม่นำมาพิจารณา ดังนั้นก่อนเลือกคณะจึงมีพี่ๆ หลายคนพยายามแนะนำว่าควรศึกษาวิธีการเลือกคณะดีๆ ว่าอยากเลือกคณะที่ชอบที่อยากเรียน หรือเอาว่าติดชัวร์

การทำงานของโปรแกรมพิจารณาคะแนน
           น้องๆ อาจจะสงสัยว่าการพิจารณาคะแนนของระบบที่ว่าเป็นยังไง ลองอ่านดูเป็นข้อๆ ไปนะ
           1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย
           2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป
           3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไป(แล้วพิจารณาอันดับ2) เช่น

How To วิธีคัดเลือกแอดมิชชั่นใน 4 อันดับของเรา !!
          สมมติว่าเมื่อพิจารณารอบแรก คือดูอันดับ 1 ของน้องทั้ง 2 คน ปรากฏว่า น้องก. ติดเป็นอันดับสุดท้าย(คะแนนต่ำสุด) ของคณะ A  ส่วนน้อง ข. คะแนนหลุดอันดับ 1 จึงต้องเลื่อนลงมาพิจารณาคณะ A ในอันดับที่2
         เมื่อดูที่คณะ A แล้วปรากฏว่าคะแนนของน้อง ข.มากกว่าน้อง ก. แม้ว่าจะอยู่อันดับ 2 ก็ตาม ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ระบบพิจารณาคะแนน คะแนนของน้อง ข. ก็จะมาแทรกในคณะ A ทำให้คนที่ได้คะแนนต่ำสุดจากการคัดรอบแรกหลุดออกไป พูดง่ายๆ คือน้อง ก.เป็นจุดอ่อนโดนเบียดออกจากคณะ A นั่นเอง  ดังนั้นจากตารางนี้ สรุปง่ายๆ ว่า น้อง ข.ติดอันดับ 2 ในคณะ A ส่วนน้อง ก.จะต้องลุ้นในอันดับ 2 ต่อไป
         4.ระบบจะทำซ้ำในข้อ3 ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะไล่หมดทั้ง 4 อันดับ (และคนที่ติดแล้วในรอบแรกๆ ก็สามารถโดนเบียดได้เรื่อยๆ ถ้ามีคนที่คะแนนมากกว่าแทรกเข้ามา)

ถ้าคะแนนเท่ากัน ใครจะอยู่ใครจะไป
          ถ้ารันคะแนนจนมาถึงที่นั่งสุดท้ายของคณะ ปรากฏว่ามีคะแนนของน้องๆ เท่ากันหลายคน การแก้ปัญหาในกรณีนี้มีอยู่ 2 ทางค่ะ คือ
          1.รับก็รับทั้งหมด ต่อให้มีคะแนนเท่ากันซัก 5 คน แต่ถ้าคณะนั้นๆ ไม่มีปัญหาในการรับนักศึกษาเกิน น้องๆ ทั้ง 5 คนก็จะได้เรียนในคณะนั้น
          2.ไม่รับทั้งหมด ในกรณีนี้ส่วนใหญ่จะเป็นคณะที่ต้องใช้อุปกรณ์การเรียน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอุปกรณ์ไม่พอนั่นเอง

วิธีการคัดเลือกในระบบแอดมินชั่น

          วัสดีค่า^^ ใกล้เข้ามาเรื่อยๆ แล้วสำหรับการประกาศผลแอดมิชชั่น54 บอร์ดแอดมิชชั่น Dek-D.com ก็คึกคักทั้งวันเลย ตอนนี้หลายคนตั้งหน้าตั้งตานับถอยหลังวันรู้ผลกันแล้ว แต่เท่าที่ พี่มิ้นท์ ลองแวะเวียนไปตามกระทู้ก็ยังพบว่ามีน้องๆ ที่ยังมีคำถามสงสัยเกี่ยวกับการคัดเลือกในระบบแอดมิชชั่นอยู่เลย- -!! ไม่เป็นไรค่ะ เอาเป็นว่ารู้ตอนนี้ก็ยังไม่สาย พี่มิ้นท์ จะมาอธิบายกันอีกที

How To วิธีคัดเลือกแอดมิชชั่นใน 4 อันดับของเรา !!


เกณฑ์คัดเลือกดูที่อะไร
          เกณฑ์การคัดเลือกในระบบแอดมิชชั่น จะพิจารณาที่ตัว “คะแนน” เท่านั้น พูดง่ายๆ ก็คือ ยิ่งคะแนนสูงยิ่งมีโอกาสติดมากกว่า พี่มิ้นท์ ตั้งข้อสมมติง่ายๆ ว่า ถ้า น้อง ก. และ น้อง ข. เลือกคณะเดียวกัน
              น้อง ก. ได้คะแนน 17,220 เลือกไว้อันดับ 1
              น้อง ข. ได้คะแนน 18,740 เลือกไว้อันดับ 2
           ในกรณีข้างต้น ถ้าพิจารณาคะแนนของน้อง ข. ซึ่งเป็นอันดับ2 (สมมติว่าพลาดอันดับ 1 มาแล้ว) ก็จะเห็นว่าคะแนนมากกว่าน้อง ก. นั่นเท่ากับว่าน้องข. มีโอกาสติดมากกว่า เพราะคะแนนสูงกว่านั่นเอง (แม้ว่าน้อง ก.จะเลือกไว้เป็นอันดับ1 ก็ไม่มีผล เพราะคะแนนน้อยกว่า) ดังนั้น ถ้าคณะนี้ขาดอีกเพียงที่นั่งเดียว คนที่ติดก็คือ น้องข. ส่วนน้องก. ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับ2 ต่อไป

อันดับที่เลือกมีผลยังไง
            ถ้าระบบยึดที่คะแนนแล้วอันดับที่เลือกมีผลยังไง คำตอบก็คือ มีไว้เพื่อพิจารณาเป็นลำดับต่อๆไป เช่น ไม่ติด1 ก็พิจารณาอันดับ2, ไม่ติด2 พิจารณาอันดับ3, ไม่ติด3 พิจารณาอันดับ4, ไม่ติด4 ก็เท่ากับแอดมิชชั่นไม่ติดค่ะ แต่ถ้าติดในอันดับใดอันดับหนึ่งแล้ว อันดับต่อไปจะไม่นำมาพิจารณา ดังนั้นก่อนเลือกคณะจึงมีพี่ๆ หลายคนพยายามแนะนำว่าควรศึกษาวิธีการเลือกคณะดีๆ ว่าอยากเลือกคณะที่ชอบที่อยากเรียน หรือเอาว่าติดชัวร์

การทำงานของโปรแกรมพิจารณาคะแนน
           น้องๆ อาจจะสงสัยว่าการพิจารณาคะแนนของระบบที่ว่าเป็นยังไง ลองอ่านดูเป็นข้อๆ ไปนะ
           1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย
           2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป
           3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไป(แล้วพิจารณาอันดับ2) เช่น

How To วิธีคัดเลือกแอดมิชชั่นใน 4 อันดับของเรา !!
          สมมติว่าเมื่อพิจารณารอบแรก คือดูอันดับ 1 ของน้องทั้ง 2 คน ปรากฏว่า น้องก. ติดเป็นอันดับสุดท้าย(คะแนนต่ำสุด) ของคณะ A  ส่วนน้อง ข. คะแนนหลุดอันดับ 1 จึงต้องเลื่อนลงมาพิจารณาคณะ A ในอันดับที่2
         เมื่อดูที่คณะ A แล้วปรากฏว่าคะแนนของน้อง ข.มากกว่าน้อง ก. แม้ว่าจะอยู่อันดับ 2 ก็ตาม ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ระบบพิจารณาคะแนน คะแนนของน้อง ข. ก็จะมาแทรกในคณะ A ทำให้คนที่ได้คะแนนต่ำสุดจากการคัดรอบแรกหลุดออกไป พูดง่ายๆ คือน้อง ก.เป็นจุดอ่อนโดนเบียดออกจากคณะ A นั่นเอง  ดังนั้นจากตารางนี้ สรุปง่ายๆ ว่า น้อง ข.ติดอันดับ 2 ในคณะ A ส่วนน้อง ก.จะต้องลุ้นในอันดับ 2 ต่อไป
         4.ระบบจะทำซ้ำในข้อ3 ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะไล่หมดทั้ง 4 อันดับ (และคนที่ติดแล้วในรอบแรกๆ ก็สามารถโดนเบียดได้เรื่อยๆ ถ้ามีคนที่คะแนนมากกว่าแทรกเข้ามา)

ถ้าคะแนนเท่ากัน ใครจะอยู่ใครจะไป
          ถ้ารันคะแนนจนมาถึงที่นั่งสุดท้ายของคณะ ปรากฏว่ามีคะแนนของน้องๆ เท่ากันหลายคน การแก้ปัญหาในกรณีนี้มีอยู่ 2 ทางค่ะ คือ
          1.รับก็รับทั้งหมด ต่อให้มีคะแนนเท่ากันซัก 5 คน แต่ถ้าคณะนั้นๆ ไม่มีปัญหาในการรับนักศึกษาเกิน น้องๆ ทั้ง 5 คนก็จะได้เรียนในคณะนั้น
          2.ไม่รับทั้งหมด ในกรณีนี้ส่วนใหญ่จะเป็นคณะที่ต้องใช้อุปกรณ์การเรียน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอุปกรณ์ไม่พอนั่นเอง

10วิธีที่สามารถช่วยให้จำหนังสือได้

 เคล็ดลับ จำง่าย การอ่านหนังสือสอบ CoolYellLaughing
1. ปิด ทีวี คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต mp3 มีสติอยู่กับหนังสือ
2. นั่งสมาธิสัก 5 นาที
3. อ่านหนึ่งรอบ แล้วสรุป โดยไม่เปิดหนังสือ
4. เช็คคำตอบ
5. อ่านอีกหนึ่งรอบ
6. สรุปใหม่ เปิดหนังสือได้เอาไว้อ่าน
7. ถ้าทำเป็น Mind Mapping จะอ่านง่ายขึ้น
8. มีเอกสารอะไรที่ครูแจก อย่าคิดว่าไม่สำคัญ
9. ท่องในส่วนที่ครูพูดย้ำบ่อยๆ อย่างน้อย 2 ครั้ง/คาบ
10. ก่อนวันสอบ ห้ามหักโหมอ่านหนังสือถึงเที่ยงคืน เพราะสมองจะไม่รับรู้อะไรทั้งสิ้น
ผู้ค้นพบแอสไพริน

ไหมว่ายาแอสไพรินถูกค้นพบในระหว่างการทดลองกับผลิตภัณฑ์เหลือใช้?

เฟรดริก ไบเออร์ เกิดในปี 1825 เขาเป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัวซึ่งมีลูกทั้งหมด 6 คน พ่อของไบเออร์เป็นช่างทอผ้าและย้อมผ้า และต่อมาไบเออร์ก็ได้เจริญรอยตามผู้เป็นพ่อเขา ในปี 1848 เขาเริ่มทำธุรกิจย้อมผ้าด้วยตัวเองและประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ก่อนหน้านี้ สีที่ใช้ย้อมผ้าทำมาจากวัสดุธรรมชาติทั้งหมด ต่อมาในปี 1856 มีผู้คิดค้นการใช้สีย้อมผ้าจากน้ำมันดินขึ้น ไบเออร์และเฟดริก เวสก็อตต์ ซึ่งเชี่ยวชาญการย้อมผ้า ต่างเห็นตรงกันว่าในอนาคตจะมีการใช้น้ำมันดินย้อมผ้ากันอย่างแพร่หลาย พวกเขาจึงตั้งบริษัทเฟดริกไบเออร์และเพื่อน ขึ้นในปี 1863 เพื่อผลิตสีย้อมผ้า
แอสไพรินของฮอฟฟ์แมนน์
ไบเออร์เสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคมปี 1880 โดยในเวลานั้นบริษัทของเขายังทำธุรกิจการย้อมผ้าอยู่เช่นเดิม บริษัทได้จ้างนักเคมีมาคิดค้นสีย้อมผ้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และในปี 1897 นักเคมีชื่อ เฟลิกซ์ ฮอฟฟ์แมนน์ ก็ทำงานที่ว่านั้น ขณะที่ฮอฟฟ์แมนน์นำวัสดุเหลือใช้จากส่วนประกอบของสีย้อมผ้าตัวหนึ่งมาทำการทดลองเพื่อหาทางบรรเทาโรคไขข้อที่กำลังคุกคามพ่อของเขาอยู่ ฮอฟฟ์แมนน์ได้ผงกรดซาลิซิลิกแบบคงรูปจากการสังเคราะห์เคมี สารประกอบดังกล่าวกลายมาเป็นสารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรมอันน่าพิศวงชิ้นหนึ่ง นั่นคือ ยาแอสไพริน ตัว "a" ของชื่อยานี้มาจาก acetyl และ "spir" จากต้น spirea และต้น Meadowsweet (Filipendula ulmaria หรือที่รู้จักกันในชื่อ Spiraea ulmaria) ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของสารซาลิซิน
มีคนใช้ยานี้กันมานานถึง 3,500 ปีแล้ว
อย่างไรก็ตาม ฮอฟฟ์แมนน์ไม่ได้ค้นพบยา “แอสไพริน” เขาเป็นแต่ได้ “ค้นพบอีกครั้ง” หลังจากที่นักเคมีชาวฝรั่งเศส ชาร์ลส์ แชร์การ์ด ได้ศึกษาเกี่ยวกับกรดอะซิติลซาลิซิลิกมาก่อนเมื่อ 40 ปีที่แล้ว การทดลองของแชร์การ์ดในปี 1837 ได้ผลดี เพียงแต่ขั้นตอนนั้นยุ่งยากและใช้เวลามาก เขาตกลงใจว่าวิธีนี้ยังนำมาปฏิบัติจริงไม่ได้ เขาจึงพักเรื่องนี้ไว้ก่อน แต่แชร์การ์ดก็รู้ดีว่ากรดอะซิติลซาลิซิลิกเป็นตัวยาที่มหัศจรรย์เพียงใด เรื่องนี้รู้แจ้งชัดกันมานานกว่า 3,500 ปีแล้ว!
ช่วงต้นศตวรรษ 1800 จอร์จ เอ็บเบอร์ ชาวเยอรมันซึ่งเป็นนักค้นคว้าเกี่ยวกับอียิปต์ ได้ซื้อกระดาษปาปีรัสจากพ่อค้าข้างถนนชาวอียิปต์คนหนึ่ง กระดาษซึ่งรู้จักกันในชื่อ ปาปีรัสของอีเบอร์ ได้รวบรวมสูตรยาตั้งแต่สมัย 2,500 ปีก่อนคริสตกาลไว้กว่า 877 สูตร และได้แนะให้ใช้ใบเมอร์เทิลแห้งกินแก้โรคไขข้อและอาการปวดหลัง แม้แต่เมื่อ 400 ก่อนคริสตกาล ฮิปโปเครติสแห่งคอส บิดาแห่งวิชาแพทย์ แนะให้นำสารที่สกัดจากเปลือกต้นหลิวมาใช้รักษาอาการไข้ แก้ปวด และใช้ในการคลอดบุตร ในสารสกัดนี้มีสารออกฤทธิ์ที่ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด ซึ่งก็คือกรดซาลิซิลิกที่เรารู้จักกันทุกวันนี้นั่นเอง ความมหัศจรรย์ของพืชสารที่มีส่วนประกอบของกรดซาลิซิลิกนี้เป็นที่รับรู้กันมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว ทั้งในจีน เอเชีย ชาวอินเดียแดงในอเมริกาเหนือ และชาวฮอตเท็นทัตในแอฟริกาใต้
การค้นพบครั้งสำคัญ
แม้ว่าสารสกัดจากเปลือกต้นหลิว หรือกรดซาลิซิลิก จะช่วยบรรเทาปวด แต่สารนี้จะทำให้ผนังกระเพาะอาหารและปากระคายเคืองอย่างรุนแรง การค้นพบครั้งสำคัญของฮอฟฟ์แมนน์เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 1897 เมื่อเขาสังเคราะห์กรดอะซิติลซาลิซิลิกจากสารเคมีบริสุทธิ์ 100% ซึ่งปลอดกรดซาลิซิลิกอิสระได้เป็นครั้งแรก ในวันที่ 6 มีนาคม 1899 ไบเออร์จดทะเบียนชื่อแอสไพริน เป็นเครื่องหมายการค้า แต่ก็ใช่ว่าปราศจากคู่แข่ง เพราะความจริงแล้วช่วงแรกยาแอสไพรินได้รับทะเบียนรับรองการค้าเฉพาะในสหรัฐฯ เท่านั้น ในอังกฤษและเยอรมันก็มีบริษัทต่างๆ พยายามจะจดสิทธิบัตรโดยอ้างว่าเป็นงานวิจัยของตน แต่หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรของฮอฟฟ์แมนน์ก็เหนือกว่า และเมื่อเขาเกษียณตัวเองในปี 1928 ยาแอสไพรินก็เป็นที่รู้จักไปทั่วโลกแล้ว แต่ตัวฮอฟฟ์แมนน์กลับไม่มีใครรู้จักจนกระทั่งเขาเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1946 ในสวิตเซอร์แลนด์


See: เรื่องของยาแอสไพริน